บทความ

Multi-skilled AI ปัญญาประดิษฐ์สารพัดประโยชน์

รูปภาพ
  อ้างอิง เราเห็น AI ได้รับการพัฒนาจนก้าวหน้าขึ้นมากในช่วงหลายปีมานี้ แต่ส่วนใหญ่ แม้จะฉลาดมาก แต่ก็จะฉลาดในเรื่องเดียว ตือทำได้ดีเฉพาะในทักษะหรือสิ่งที่ถูกฝึกฝนมา จึงเริ่มมีแนวคิดเพื่อพัฒนาทักษะของ AI ให้หลากหลายและกว้างขวางมากขึ้นขึ้น ด้วยการสร้างประสาทสัมผัสให้ปัญญาประดิษฐ์ ผ่าน Computer Vision เพื่อให้เห็นและเข้าใจภาพตรงหน้า หรือ Audio Recognition เพื่อให้เรียนรู้และจดจำเสียงได้ สุดท้าย เราก็จะได้ AI ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงมนุษย์มากขึ้น มองเห็น ได้ยิน รู้สึก และสื่อสารได้แบบมนุษย์ได้ นับว่าทั้งน่าสนใจและน่ากลัวในเวลาเดียวกัน อ้างอิง

Remote Everything เทคโนโลยีที่รองรับชีวิตทางไกล

รูปภาพ
  Remote Everything เทคโนโลยีที่รองรับชีวิตทางไกล ก่อนการระบาดของไวรัสโควิด-19 ทั่วโลกและการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในอุตสาหกรรมกำลังดำเนินไปได้ด้วยดี ในเวลาเพียงไม่กี่เดือน เราได้เห็นทุกธุรกิจและทุกภาคส่วนหยุดชะงัก แม้แต่องค์กรที่มีโปรแกรมการทำให้เป็นดิจิทัลที่แข็งแกร่งก็ยังถูกบังคับให้ประเมินใหม่และปรับความเร็วและความเร็วในการนำไปใช้สำหรับโซลูชันเทคโนโลยีที่เป็นนวัตกรรมเพื่อสร้างการดำเนินงานที่ชาญฉลาดยิ่งขึ้น ปลอดภัยยิ่งขึ้น เชื่อถือได้มากขึ้น และมีความยืดหยุ่นมากขึ้น อะไรคือ Remote Everything คือมาตรฐานใหม่ การปรับให้เข้ากับระบบนิเวศการทำงานที่เน้นอินเทอร์เน็ตเป็นหลัก/จากระยะไกลนั้นส่งผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่ออุตสาหกรรมต่างๆ เช่น การผลิตที่อาศัยการมีอยู่ของมนุษย์ในแบบดั้งเดิมเพื่อจัดการการปฏิบัติงานในโรงงานโดยตรง ผลที่ได้คือไดนามิก ทุกอย่างจากระยะไกล นี้ทำให้การเรียนรู้ของเครื่องและการตัดสินใจและการดำเนินการตาม AI อยู่ในระดับแนวหน้าของการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลและการดำเนินงานที่ไม่ใช้มนุษย์ เพื่อความปลอดภัยและความต่อเนื่องทางธุรกิจ ปี 2020 ได้นำไปสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการแห่งนวัตกรรม เช่นเดี

Hyper-accurate Positioning ระบบนำทางที่แม่นยำกว่าเดิม

รูปภาพ
  (Global Positioning System GPS)ซึ่งถ้าแปลให้ตรงตัวแล้วคือ “ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลก” ระบบนี้ได้พัฒนาขึ้นโดยกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งจัดทำโครงการ Global Positioning System มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 โดยอาศัยดาวเทียมและระบบคลื่นวิทยุนำร่องและรหัสที่ส่งมาจากดาวเทียม NAVSTAR จำนวน 24 ดวง โดยแบ่งเป็นชุด ชุดละ 4 ดวงโดยทำการโคจรอยู่รอบโลกวันละ 2 รอบ และมีตำแหน่งอยู่เหนือพื้นโลกที่ความสูง 20,200 กิโลเมตร 1. องค์ประกอบหลักของ GPS ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ ส่วนอวกาศ (Space segment) ส่วนสถานีควบคุม (Control segment) และส่วนผู้ใช้ (User segment) 1. ส่วนอวกาศ ประกอบด้วยเครือข่ายดาวเทียม 3 ค่าย คือ อเมริกา รัสเซีย ยุโรป อเมริกา ชื่อ NAVSTAR (Navigation Satellite Timing and Ranging GPS) มีดาวเทียม 28 ดวง ใช้งานจริง 24 ดวง อีก 4 ดวงเป็นตัวสำรอง บริหารงานโดย Department of Defenses มีรัศมีวงโคจรจากพื้นโลก 20,162.81 กม.หรือ 12,600 ไมล์ ดาวเทียมแต่ละดวงใช้ เวลาในการโคจรรอบโลก 12 ชั่วโมง ยุโรป ชื่อ Galileo มี 27 ดวง บริหารงานโดย ESA หรือ European Satellite Agency จะพร้อมใช้ง

Digital Contact Tracing ระบบติดตามจัดการโรคระบาด

รูปภาพ
   ในช่วงที่โลกของเรากำลังเจอสถานการณ์ที่ทำให้ทุกคนต้องปรับตัวครั้งใหญ่ เรียกได้ว่าเป็นการปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตครั้งใหญ่ที่สุดเลยก็ว่าได้ เนื่องจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ที่แพร่ระบาดไปทั่วโลก มีผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตมากมาย เกิดหลักปฏิบัติ Social Distancing หรือการเว้นระยะห่างทางสังคม อยู่บ้านให้มากขึ้น หลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้อื่น หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดผู้อื่น หลีกเลี่ยงสถานที่ชุมชน นอกจากนั้นได้มีการพัฒนาแอปพลิเคชันติดตามผู้สัมผัส (contact tracing) ขึ้นเพื่อรับมือและยับยั้งการแพร่ระบาด สาเหตุที่ต้องติดตามผู้สัมผัสกันขนาดนี้ก็เพราะอย่างที่ทุกคนทราบว่า เชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) สามารถติดต่อกันได้ง่าย ผู้ป่วย 1 ราย สามารถแพร่ให้กับคนใกล้ชิดได้อีก 2-3 ราย และในบางสภาพแวดล้อมก็อาจทำให้เกิดซูเปอร์สเปรดเดอร์ (super spreader) เช่น โบสถ์ สนามมวย โรงหนัง ส่งผลให้มีผู้ติดเชื้อหลักสิบถึงร้อยราย และยังมีความรุนแรงมากกว่าโรคติดเชื้อทางเดินหายใจทั่วไป ยิ่งถ้ามีผู้ป่วยจำนวนมากเข้าโรงพยาบาลพร้อมกันก็ยิ่งทำให้มีอัตราป่วยตายสูงขึ้น องค์การอนามัยโลกจึงประกาศให้ โรคจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (CO

Green Hydrogen พลังงานที่สะอาดหมดจด

รูปภาพ
  ความปกติรูปแบบใหม่หรือที่เรียกกันว่า New Normal ถือเป็นคำพูดที่ตอนนี้เราพูดกันจนติดปากและเริ่มคุ้นชินมากขึ้น ที่ผ่านมาหลาย ๆ คนคงไม่ทันได้คาดคิดมาก่อนว่าเพียงเชื้อไวรัสที่เกิดขึ้นในเมืองอู่ฮั่น สาธารณรัฐประชาชนชนจีนจะเพิ่มความรุนแรงสู่การระบาดครั้งใหญ่ที่แพร่กระจายไปทั่วโลก วิกฤตไวรัสโควิด-19 ครั้งนี้ ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ที่ส่งผลกระทบในทุก ๆ ด้าน เกิดการชะลอตัวทางเศรษฐกิจและพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ผู้ประกอบการต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจ แต่ในบางครั้งการเปลี่ยนแปลงก็จู่โจมเราโดยไม่ทันตั้งตัว ซึ่งเรามักจะนึกถึงคำว่า “ความยั่งยืน” เมื่อต้องรับมือกับความไม่แน่นอน ไม่ว่าจะในสถานการณ์ใด แนวคิดในการสร้างความยั่งยืนเริ่มทวีความสำคัญมากขึ้น นับตั้งแต่ที่อนาคตของเราเริ่มประสบกับความไม่แน่นอนจากการระบาดครั้งนี้  ดังนั้นการสร้างความยั่งยืนจึงเป็นประเด็นที่ได้รับการหยิบยกและพูดถึงอย่างกว้างขวาง ด้วยเชื่อว่าความยั่งยืนจะสามารถบรรเทาความเสี่ยงอันเกิดจากเหตุการณ์อื่น ๆ ในอนาคตซึ่งอาจมีผลกระทบและเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผู้คนได้ ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วหลายประ

Data Trust ทางออกของปัญหาข้อมูลส่วนบุคคล

รูปภาพ
  Data Trust ทางออกของปัญหาข้อมูลส่วนบุคคล เริ่มต้นด้วยการดูว่าข้อมูลนั้นคืออะไร เมื่อโลกขับเคลื่อนด้วยข้อมูลมากขึ้น เครือข่ายขององค์กรก็เต็มไปด้วยข้อมูล ข้อมูลบางส่วนเข้ามาผ่าน SaaS และเว็บแอปพลิเคชัน ข้อมูลอื่นๆ มาจากการป้อนข้อมูลของผู้คนโดยตรง นึกถึงเว็บฟอร์ม ข้อมูลมาจากเครื่องจักรมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น สมาร์ทโฟนและอุปกรณ์ Internet of Things (IoT) ค่าประมาณจะระบุปริมาณข้อมูลที่สร้างขึ้นทุกปีในหน่วยเซตตะไบต์ เซตตะไบต์มีมากกว่าหนึ่งพันล้านเทราไบต์ นั่นเป็นจำนวนข้อมูลที่ไร้สาระ Data Trust ทางออกของปัญหาข้อมูลส่วนบุคคล นิยามความน่าเชื่อถือของข้อมูล ความไว้วางใจในข้อมูลหมายถึงการมีความมั่นใจว่าข้อมูลขององค์กรของคุณมีสุขภาพที่ดีและพร้อมที่จะดำเนินการ ความไว้วางใจเป็นกุญแจสำคัญสู่ความสำเร็จในการใช้ข้อมูลของคุณ ด้วยความมั่นใจในข้อมูลองค์กร องค์กรจึงมอบความสามารถในการออกแบบประสบการณ์ลูกค้าที่ยอดเยี่ยม ปรับปรุงการดำเนินงาน รับรองการปฏิบัติตามกฎระเบียบ และขับเคลื่อนนวัตกรรม แต่ต้องได้รับและวัดความเชื่อถือข้อมูล ไม่สามารถยึดถือศรัทธาได้ ก่อนเชื่อถือข้อมูลองค์กร คุณควรพิสูจน์ว่าสามารถสร้างการวิเครา

Lithium-Metal Battery อนาคตของรถยนต์ไฟฟ้า

รูปภาพ
ในปัจจุบันยานยนต์ไฟฟ้าเข้ามามีบทบาทมากขึ้น เช่น รถยนต์พลังงานไฟฟ้า ซึ่งเห็นได้ชัดเจนว่าการที่จะให้รถยนต์ไฟฟ้าขับเคลื่อนไปได้ จำเป็นต้องมีแบตเตอร์รี่เพื่อเป็นแหล่งกำเนิดพลังงาน ซึ่งในปัจจุบัน แบตเตอร์รี่ที่จะนำมาใช้เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานของรถยนต์พลังงานไฟฟ้าได้ถูกวิจัยและพัฒนามาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีขนาดที่เล็กลงและสามารถให้พลังงานได้มากขึ้น ทำให้แบตเตอร์รี่ลิเทียมไอออน (Lithium-Ion Battery)ได้ถูกเลือกนำมาใช้เป็นแหล่งพลังงานหลักให้แก่รถยนต์พลังงานไฟฟ้า เนื่องจากมีน้ำหนักเบา มีอายุการใช้งานสูง ให้พลังงานได้มากและชาร์จได้เร็ว และที่สำคัญแบตเตอร์รี่ลิเทียมไอออน (Lithium-Ion Battery) เป็นเซลล์แห้ง ทำให้ไม่ก่อนให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ด้วยเหตุนี้ ทำให้รถยนต์พลังงานไฟฟ้าจะเป็นตลาดแบตเตอร์รี่ลิเทียมไอออน (Lithium-Ion Battery) ที่มีมูลค่าสูงถึง 3,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2030 “ ทำความรู้จักกับแบตเตอร์รี่ลิเทียมไอออน  (Lithium-Ion Battery)   ทำไมถึงต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับแบตเตอร์รี่ลิเทียมไอออน  (Lithium-Ion Battery)   ทำไมถึงต้องเป็นแบตเตอร์รี่ลิเทียมไอออน  (Lithium-Ion Batter